Home
Soil
DOH Motorway
Slope
Track
Lecturer
Contact
TRACK TRANSITIONS IN RAILWAYS : A REVIEW
เหตุผลที่เลือกบทความ:
-    บทความนี้ได้รวบรวมปัญหาและทางเลือกในการปรับปรุงช่วง Transition Zones แก้ไขการทรุดตัวที่แตกต่างด้วยวิธีการต่างๆ ที่มีใช้ทั้งหมดทั่วโลก
-    สามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงคันทางรถไฟที่มีปัญหาการทรุดตัว

วัตถุประสงค์:
-    เพื่อรวบรวมปัญหาของ Transition Zones และวิธีการวิเคราะห์ที่มีอยู่หลากหลายในปัจจุบัน พร้อมทั้งจัดหมวดหมู่ของปัญหาให้เข้าใจง่าย
-    เพื่อศึกษาสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความเสียหายของ Transition Zones
-    เพื่อศึกษาวิธีการป้องกัน/แก้ไขความเสียหายจากการทรุดตัวที่แตกต่าง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบให้ความสำคัญ


Methodology
Study Contents
    1. Transition Problem
    2. Design and Modeling
    3. Current Transition Design
    4. Conclusion / Discussion / Future Direction
Transition Problems

Summary of the cause of track transition degradation
Vertical Stiffness
X.Lei, 2003; A.Smekal, 1997; E.Hoppe, 2001; A.J.Puppala, 2009; D.Plotkin, 1993; H.Hunt, 1996; K. Koch, 2007:
"ถ้า Foundation Stiffness ต่ำ"   

Design and Modeling - Current Design
Results
Design Consideration

Conclusion
1.    ปัญหาบริเวณรอยต่อคอสะพานเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ
    - การทรุดตัวที่แตกต่างกันของโครงสร้าง Subgrade, คุณภาพ Subgrade ไม่ดี,
      คุณภาพการก่อสร้างไม่ดี, การหลุดร่อนของ Ballast
    - Stiffness เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันที่รอยต่อ
2.    ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดปัญหาบริเวณช่วงรอยต่อคอสะพานคือ
    - น้ำหนักบรรทุก
    - ความเร็วรถไฟ
    - ชนิดของช่วงต่อ
3.    วิธีการแก้ไขปัญหานี้ที่ดีที่สุดในปัจจุบันคือการสร้าง Transition Zone ให้ปรับเปลี่ยน Stiffness แบบค่อยเป็นค่อยไป และสามารถใช้หลายวิธีรวมกันเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

Discussion
1.    จำนวน element ที่มากมายทำให้เกิดความยุ่งยากในการศึกษา interaction และยากต่อการจำลองให้เหมือนจริงทุกประการ จึงมีการสร้างแบบจำลองแยกกันระหว่างตัวรถและคันทาง เพื่อลดความซับซ้อนและระยะเวลาในการวิเคราะห์
2.    ไม่มี Model ของงานวิจัยใดเลยที่พิจารณาผลของความเร็วรถไฟโดยสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะวิจัยโดยแปรเปลี่ยนความเร็วเพิ่มเติม
3.    Theoretical Model ของงานวิจัยทั้งหมดที่ได้ศึกษา ส่วนใหญ่เป็น Numerical Model และยังมี Field Test จำนวนน้อย
4.   การศึกษาที่ควรจะเพิ่มเติมในอนาคต
-    แยก Plastic Deformation
-    เปรียบเทียบผลการตรวจวัดในสนามกับทฤษฎี
-    Model Calibration
-    ประเมินการใช้งานของ Transition Zone ในระยะยาว เพื่อหาวิธีที่เหมาะสมที่สุด
"The present study has provided the researchers with a solid base from which to expand in the future"