SOIL INVESTIGATIONS
Sub-soil Boring
แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน
1) การรวบรวมข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับโครงสร้าง ขั้นตอนนี้จะทาการรวมข้อมูลที่จำเป็น เช่น ชนิดของโครงสร้าง น้ําหนักจากเสาและกําแพง เป็นต้น
2) การรวบรวมข้อมูลสภาพชั้นดินที่มีอยู่สามารถหาได้จากแผนที่สํารวจทางธรณีคู่มือการ ทดสอบดินของกรมทางหลวงและรายงานข้อมูลดินสำหรับโครงการก่อสร้างที่อยู่ ใกล้คียง เป็นต้น
3) การสํารวจพื้นที่ที่ จะทำการก่อสร้าง เช่น ชนิดของพืชผักในสนามการเปิดหน้าดิน รอยแตกบนกำแพงของอาคารใกล้เคียง เป็นต้น
4) การสํารวจพื้นที่อย่างละเอียดขั้นตอนนประกอบด้วยการทำหลุมสำรวจหลายๆหลุม และการเก็บตัวอย่างคงสภาพและแปรสภาพที่ ระดับความลึกต่ างๆเพื่อจำาแนกด้วย ตา และการทดสอบในห้องปฏบัติการ
ภาพที่1 การเก็บตัวอย่างดินและข้อมูลการทดสอบคุณสมบัติ
AASHTO 1988, 7.4.3 Exploration Spacing
7.4.3.1 Subgrade Boring:
relatively uniform subsurface @ 60 - 90 m,
complexity geology @ 30 - 60 m,
critical foundation conditions exist @ 8 - 15 m
7.4.3.2 High-Embankment and Deep Cut Boring (ความสูงเกิน 5 เมตร):
Fill @ 60 m, at least 1 boring may be located at max. height
Compressible materials @ 30 m
Cut @ 30 m
7.4.3.3 Specific Structure Boring:
1 boring at the end of each pier and abutment,
when piers and abutment > 30 m long + additional explorations,
Retaining wall @ 30 m
* spacing สามารถปรับเพิ่ม/ลดได้ตามความเหมาะสม
7.4.3.4 Critical Area (shallow bedrock, swamp deposits, underground caverns):@ 15 m
กรมทางหลวง
Subgrade
Test pit @ 1,000 m
Boring
สะพานยาว < 15 ม. เจาะสำรวจ 1 หลุม
สะพานยาว 15 - 30 ม. เจาะสำรวจ 2 หลุม
สะพานยาว 30 - 50 ม. เจาะสำรวจกลางลำน้ำเพิ่มรวมเป็น 3 หลุม
ภาพที่2 ข้อมูลการทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน
Pile Subject to Compression / Tension
Static Pile Load Test
การทดสอบการรับน้ำหนักเสาเข็ม (Pile Load Test) โดยเป็นการประเมินน้ำหนักบรรทุกประลัย (Qu) จากพลังงานหรือ Momentum ที่เครื่องมือตอกได้ถ่ายทอดให้แก่เสาเข็มเพื่อส่งลงสู่ดินโดยการคำนวณจากสูตรการตอกเสาเข็ม
เสาเข็มเจาะส่วนมากการตรวจความสมบูรณ์ของเสาเข็มนั้นมีมากหลากหลายวิธีโดยส่วนมากจะนิยมใช้ทดสอบนั้นมีอยู่หลัก ๆ 3 วิธีคือ Seismic Test, Static load Test และ Dynamic load Test
Safety Factors
ค่าความปลอดภัยที่ถูกออกแบบให้สิ่งปลูกสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะ ยังรักษาสภาพไว้ได้ระดับหนึ่ง เพื่อกรณีไม่ปกติ ก็ยังมีเวลาที่จะทำอะไรต่างๆก่อนที่จะถึงจุดวิกฤตจุดแตกหัก จุดที่ยอมให้ทนได้ คือวัตถุประสงค์หลักของการเผื่อค่าความปลอดภัย
ภาพที่3 ข้อมูลการทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน