Theory of Elasticity (Boussinesq)
- Poisson's ratio = 0.5 (Spangler & Mickle, 1956)
- แรงดันด้านข้างจาก Live Load ตาม NAVFAC DM 7.2
แผนภูมิแรงดันด้านข้างเมื่อมีการบดอัด granular soil
(NAVFAC DM 7.2 - Retaining Wall Performance During Backfill)
- การบดอัดดินหลังกำแพงทำให้แรงดันมากขึ้นกว่า at-rest pressure
- สำหรับดินเม็ดละเอียดที่มี finer > 15% ปกติจะไม่นำมาเป็นวัสดุถม
- ถ้าจำเป็นใช้ดินเม็ดละเอียดจะต้องวิเคราะห์แรงแบบ at-rest หรือ
แรงที่มากกว่าตามดุลพินิจ, สภาพการระบายน้ำและการบวมตัวของดิน
สัดส่วนแนะนำของ Retaining Walls
การเลือกใช้แรงดันด้านข้าง
ถ้าใช้ Ka กับ Rigid Wall (Permanent Wall)
สมมติทราย f = 30o
ความสูงดินถมหลังกำแพง 4 m
Limit Equilibrium เป็น Working Load หรือไม่ ???
จะกำหนดแรงไปคำนวณทางโครงสร้าง จะทำอย่างไร ???
ความเข้าใจผิดเมื่อต้องการตรวจสอบการเยื้องศูนย์ เมื่อคำนวณหาจุด centroild ของแรงแล้วพบว่าอยู่เกิดการecentric ด้านในดิน ไม่อันตราย
อย่าลืม check global stability, earth quake(อย่าไปคิดจาก Limit ของแรง)
Sheet Pile Walls
Cantilever Sheet Pile
Anchorage
ตำแหน่งวางสมอ .ให้วางตำแหน่งพ้น Active Zone
เมื่อไหร่ควรใช้ Ka, Ko, Kp ???
- Ka ใช้ Tempolary Wall พร้อมจะพัง เช่น Sheet Pile
- Ko ใช้เมื่อคิดว่าดินแน่น ในบริเวณคลอง เช่น RC Retaining Wall , Sheet Pile กรณีใช้ระยะยาวเพราะไม่อยากให้กำแพงเอียงเรื่อยๆ
- Kp เมื่อมั่นใจว่ามีแรงต้านภายในตลอด ถ้าไม่มั่นใจให้ใช้ Friction เป็นตัวต้าน